โครงการสอน
ฟอร์ม วก.002 |
กำหนดการสอนรายสัปดาห์
วิชา งานเครื่องล่างรถยนต์ รหัสวิชา 2101-1003
สัปดาห์ที่ |
ว/ด/ป |
คาบที่ |
รายการสอน |
หมายเหตุ |
1 |
|
1-6 |
หน่วยที่1 เครื่องมือพิเศษและความปลอดภัยในงานเครื่องล่างรถยนต์ 1.1. เครื่องมือพิเศษสำหรับงานเครื่องล่างรถยนต์ 1.1.1 ความปลอดภัยในงานเครื่องล่างรถยนต์ |
ของจริง แผ่นใส |
2 |
|
7-12 |
หน่วยที่2 ระบบรองรับน้ำหนักรถยนต์ 2.1 น้ำหนักเหนือสปริงรองรับและน้ำหนักใต้สปริงรอบรับ 2.2 คุณลักษณะของสปริงรองรับรถยนต์ |
ของจริง แผ่นใส |
3 |
|
13-18 |
หน่วยที่3 เหล็กกันโครงและลูกหมากปีกนก 3.1 งานเหล็กกันโครงและลูกหมากปีกนก 3.1.1 คุณลักษณะและหน้าที่ของเหล็กกันโครง 3.1.2 คุณลักษณะและหน้าที่ลูกหมากปีกนก |
ของจริง แผ่นใส |
4 |
|
19-24 |
หน่วยที่3 เหล็กกันโครงและลูกหมากปีกนก (ต่อ) 3.2 งานการรองรับด้วนปีกนกและการตรวจซ่อม 3.2.1 การรองรับแบบไม่อิสระและแบบอิสระ 3.2.2 การตรวจลูกหมากปีกนก |
ของจริง แผ่นใส |
5 |
|
25-30 |
หน่วยที่3 เหล็กกันโครงและลูกหมากปีกนก (ต่อ) 3.3 งานการรองรับหลังและการตรวจซ่อม 3.3.1 การรองรับหลังแบบคานแข็งใช้แหนบคู่ 3.3.2 การรองรับหลังแบบอิสระใช้แขนตามและแขนลาก |
ของจริง แผ่นใส |
6 |
|
31-36 |
หน่วยที่4.โช้คอัพกันสั่นสะเทือน 4.1 งานโช้คอัพกันสั่นสะเทือนและการตรวจซ่อม 4.1.1 ความจำเป็นต้องใช้โช้คอัพและประเภทของโช้คอัพ 4.1.2 การตรวจสอบโช้คอัพที่รถและการเปลี่ยนโช้คอัพ |
ของจริง แผ่นใส |
กำหนดการสอนรายสัปดาห์
วิชา งานเครื่องล่างรถยนต์ รหัสวิชา 2101-1003
สัปดาห์ที่ |
ว/ด/ป |
คาบที่ |
รายการสอน |
หมายเหตุ |
7 |
|
37-42 |
หน่วยที่4.โช้คอัพกันสั่นสะเทือน (ต่อ) 4.2 งานการรองรับด้วยโช้คอัพค้ำและการตรวจสอบ 4.2.1 ลักษณะการรองรับด้วยโช้คอัพค้ำ 4.2.2 การถอดและตรวจซ่อมโช้คอัพค้ำรองรับหน้ารถและการตรวจซ่อม |
ของจริง แผ่นใส |
8 |
|
43-48 |
หน่วยที่5.ระบบบังคับเลี้ยว 5.1 งานกลไกลบังคับเลี้ยว 5.1.1 หน้าที่ระบบบังคับเลี้ยวและแกนพวงมาลัย 5.1.2 การตรวจซ่อมชุดแกนพวงมาลัย |
ของจริง แผ่นใส |
9 |
|
49-54 |
สอบกลางภาคเรียน |
|
10 |
|
55-60 |
หน่วยที่5.ระบบบังคับเลี้ยว (ต่อ) 5.2 งานกระปุพวงมาลัยแบบลูกปืนหมุนวนและการตรวจซ่อม 5.2.1 ลักษณะการบังคับเลี้ยวของกระปุกพวงมาลัย 5.2.2 กระปุกพวงลัยแบบลูกปืนหมุนวน 5.2.3 กระปุพวงมาลัยเพาเวอร์แบบลูกปืนหมุนวน 5.2.4 การตรวจซ่อมกระปุพวงมาลัยแบบลูกปืนหมุนวน |
ของจริง แผ่นใส |
11 |
|
61-66 |
หน่วยที่5.ระบบบังคับเลี้ยว (ต่อ) 5.3 งานกระปุกพวงมาลัยแบบเฟืองสะพานและการตรวจซ่อม 5.3.1 คุณลักษณะกระปุกพวงมาลัยแบบเฟืองสะพาน 5.3.2 การตรวจซ่อมกระปุกพวงมาลัย |
ของจริง แผ่นใส |
12 |
|
67-72 |
หน่วยที่6. ระบบเบรก 6.1 งานระบบเบรกดุมและการตรวจซ่อม 6.1.1 ส่วนประกอบและประเภทเบรกดุม 6.1.2 การตรวจซ่อมเบรกดุม |
ของจริง แผ่นใส |
กำหนดการสอนรายสัปดาห์
วิชา งานเครื่องล่างรถยนต์ รหัสวิชา 2101-1003
สัปดาห์ที่ |
ว/ด/ป |
คาบที่ |
รายการสอน |
หมายเหตุ |
13 |
|
73-78 |
หน่วยที่6. ระบบเบรก(ต่อ) 6.2 งานระบบเบรกดิสก์และการตรวจซ่อม 6.2.1 ส่วนประกอบและประเภทเบรกดิสก์ 6.2.2 การตรวจซ่อมเบรกดิสก์ |
ของจริง แผ่นใส |
14 |
|
79-84 |
หน่วยที่6. ระบบเบรก(ต่อ) 6.3 งานปั๊มเบรกและการตรวจซ่อม 6.3.1 การทำงานของแม่ปั๊มเบรกแบบลูกสูบเดียว 6.3.2 การทำงานของแม่ปั๊มเบรกแบบลูกสูบคู่ 6.3.3 การถอดและการตรวจซ่อมแม่ปั๊มเบรก |
ของจริง แผ่นใส |
15 |
|
85-90 |
หน่วยที่7. ระบบเบรกกำลัง 7.1 งานหม้อลมเบรกและการตรวจซ่อม 7.1.1 ลำดับการทำงานของหม้อลม 7.1.2 การตรวจซ่อมหม้อลมเบรก |
ของจริง แผ่นใส |
16 |
|
91-96 |
หน่วยที่8.ศูนย์ล้อรถยนต์ 8.1 งานศูนย์ล้อและการตั้งศูนย์ 8.1.1 มุมแคสเตอร์และมุมแคมเบอร์ 8.1.2 ระยะโทอิน-โทเอาต์ |
ของจริง แผ่นใส |
17 |
|
97-102 |
หน่วยที่9. ล้อ ดุมล้อ และยาง 9.1 งานดุมล้อและการบำรุงรักษา 9.1.1 การตรวจซ่อมดุมล้อหน้ารถขับล้อหลัง 9.1.2 การตรวจซ่อมดุมล้อหน้ารถขับล้อหน้า |
ของจริง แผ่นใส |
18 |
|
103-108 |
สอบปลายภาค |
|
การประเมินผลรายวิชา
รายวิชานี้แบ่งเป็น 9 หน่วยเรียน การวัดผลและประเมินผลดำเนินการดังนี้
1. วิธีการ ดำเนินการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินผลแยกเป็น 3 ส่วน โดยแบ่งแยกคะแนนแต่ละส่วนจาก
คะแนนเต็ม 100 คะแนน
1.1 พิจารณาผลงานที่มอบหมาย 40 คะแนน หรือ 40% ประกอบด้วย
ใบงานปฏิบัติงานที่ 1-18
1.1.1 เครื่องมือพิเศษและความปลอดภัยในงานเครื่องล่าง 2 คะแนน
1.1.2 ระบบรองรับน้ำหนักรถยนต์ 2 คะแนน
1.1.3 งานเหล็กกันโครงและลูกหมากปีกนก 2 คะแนน
1.1.4 งานการรองรับด้วยปีกนกและการตรวจซ่อม 2 คะแนน
1.1.5 งานการรองรับหลังและการตรวจซ่อม 2 คะแนน
1.1.6 งานโช้คอัพกันสั่นสะเทือนและการตรวจซ่อม 2 คะแนน
1.1.7 งานการรองรับด้วยโช้คอัพค้ำและการตรวจซ่อม 2 คะแนน
1.1.8 งานกลไกลบังคับเลี้ยว 2 คะแนน
1.1.9 งานกระปุกพวงมาลัยแบบลูกปืนหมุนวนและการตรวจซ่อม 2 คะแนน
1.1.10 งานกระปุกพวงมาลัยแบบเฟืองสะพานและการตรวจซ่อม 2 คะแนน
1.1.11 งานระบบเบรกดุมและการตรวจซ่อม 2 คะแนน
1.1.12 งานระบบเบรกดิกส์และการตรวจซ่อม 2 คะแนน
1.1.13 งานปั๊มเบรกและการตรวจซ่อม 2 คะแนน
1.1.14 งานหม้อลมเบรกและการตรวจซ่อม 2 คะแนน
1.1.15 งานศูนย์ล้อและการตั้งศูนย์ 3 คะแนน
1.1.16 การตรวจตั้งศูนย์ล้อหน้าแบบรองรับด้วยปีกนก 3 คะแนน
1.1.17 งานดุมล้อและการบำรุงรักษา 3 คะแนน
1.1.18 งานยางรถยนต์และการบำรุงรักษา 3 คะแนน1.2 พิจารณาจิตพิสัย ความสนใจและคุณธรรมจริยธรรม 20 คะแนน หรือ 20% ประกอบด้วย
1.2.1 การตรงต่อเวลา 5 คะแนน
1.2.2 ความรับผิดชอบ 5 คะแนน
1.2.3 การแต่งกาย 5 คะแนน
1.2.4 เวลาเรียน 5 คะแนน
1.3 ทดสอบหน่วยเรียน
1.3.1 ทดสอบกลางภาคเรียน 20 คะแนนหรือ 20%
1.3.1.1 เครื่องมือพิเศษและความปลอดภัยในงานเครื่องล่าง 5 คะแนน
1.3.1.2 ระบบรองรับน้ำหนักรถยนต์ 5 คะแนน
1.3.1.3 เหล็กกันโครงและลูกหมากปีกนก 5 คะแนน
1.3.1.4 โช้คอัพกันสั่นสะเทือน 5 คะแนน
1.3.2 ทดสอบปลายภาคเรียน 20 คะแนนหรือ20%
1.3.2.1 ระบบบังคับเลี้ยว 4 คะแนน
1.3.2.2 ระบบเบรก 4 คะแนน
1.3.2.3 ระบบเบรกกำลัง 4 คะแนน
1.3.2.4 ศูนย์ล้อรถยนต์ 4 คะแนน
1.3.2.5 ล้อ ดุมล้อ และยาง 4 คะแนน
2. เกณฑ์ผ่าน ผู้ที่ผ่านรายวิชานี้จะต้อง
2.1 มีเวลาเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมดหรือขาดไม่เกิน 3 ครั้ง
2.2 ผลรวมของคะแนนทั้งหมดต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50
3. เกณฑ์ระดับคะแนน
ให้นำผลคะแนนที่ได้จากการพิจารณาตามเกณฑ์ผ่านรายวิชาตามข้อ 2 มาตัดเกรดแบบอิงเกณฑ์
ต่อไปนี้
80 ขึ้นไป เกรด 4
75-79 เกรด 3.5
70-74 เกรด 3
65-69 เกรด 2.5
60-64 เกรด 2
55-59 เกรด 1.5
50-54 เกรด 1
ต่ำกว่า 50 เกรด 0